รายวิชา PhD.
การสร้างแบบจำลองและการวิเคราะห์เครือข่ายข้อมูล
Data Networks Modeling and Analysis
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล แบบจำลองความล่าช้าในการสื่อสารข้อมูล การเข้าถึงการสื่อสารแบบหลากหลาย การหาเส้นทางในการสื่อสารข้อมูล การควบคุมการไหลของข้อมูล
Data networks, delay models in data networks, multi-access communication, routing in data networks, flow control.
การพัฒนากระบวนการซอฟต์แวร์
Software Process Improvement
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
การควบคุมคุณภาพของซอฟต์แวร์และกระบวนการพัฒนา การควบคุมคุณภาพในเชิงปริมาณและสถิติ มาตรวัดซอฟต์แวร์
Software quality assurance and process improvement, quantitative and statistical process control, software metrics.
ซอฟต์แวร์มัลติเอเจ็นต์
Software Multi-Agents
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
ความรู้พื้นฐานทางด้านการออกแบบระบบซอฟต์แวร์มัลติเอเจ็นต์ เทคนิคต่าง ๆ และ กรรมวิธีในการสร้างต้นแบบของระบบเอเจ็นต์ ระบบปัญญาประดิษฐ์แบบกระจาย
Basic knowledge in multi-agent software design, techniques and construction of prototype agent systems, distributed artificial intelligence systems.
การสืบค้นความรู้และการทำเหมืองข้อมูล
Knowledge Discovery and Data Mining
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
พื้นฐานของระบบสืบค้นความรู้บนฐานข้อมูลขนาดใหญ่ กระบวนการสืบค้นความรู้ เทคนิคการสืบค้นความรู้ การสืบค้นความรู้บนฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างซับซ้อน
Background on various aspects of knowledge discovery systems, knowledge discovery process, data mining techniques, knowledge discovery from complex data.
การค้นคืนข้อมูลแผนใหม่
Modern Information Retrieval
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
ความรู้ และทฤษฎีทางด้านระบบสืบค้นข้อมูล การประยุกต์ใช้ระบบสืบค้นข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ในปัจจุบัน
Knowledge and theory in information retrieval, current information retrieval applications.
วิศวกรรมภาษาเชิงปริมาณ
Quantitative Language Engineering
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
ระบบภาษาธรรมชาติ การดึงความรู้ทางภาษาจากคลังประโยคขนาดใหญ่ การใช้โมเดลฮิดเดนมาร์คอฟ กับ การประมวลผลภาษาในรูปเสียงและข้อความ การประมวลผลคำเชิงสถิติ การประมวลผลประโยคเชิงสถิติ การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศด้วยเทคนิค การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Natural language processing, knowledge acquisition from very large corpora, application of Hidden Markov model with speech and language processing, statistical methods in morphological processing, NLP techniques for enhancing information system efficiency.
ระบบสื่อประสม
Multimedia Systems
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
ระบบมัลติมีเดียแบบต่าง ๆ ข้อมูลแบบต่าง ๆ องค์ประกอบของข้อมูล มาตรฐาน ขั้นตอนวิธีมาตรฐานในการบีบอัด ระบบอินพุตเอาท์พุต ระบบจัดเก็บข้อมูล ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ฐานข้อมูลมัลติมีเดีย การสื่อสารข้อมูล และระบบจัดการแบบกระจาย
Various aspects of multimedia systems, data formats and standards, compression standards, I/O and storage technologies, user interface, multimedia database, multimedia communications, and distributed multimedia systems.
ชีวสารสนเทศเชิงคำนวณ
Computational Bioinformatics
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
อณูชีววิทยา การสร้างข้อมูลยีโนม การวิเคราะห์ลำดับข้อมูลชีวภาพ การจัดการปรับปรุงข้อมูล การวิเคราะห์ความหมายและหน้าที่ของยีน
Molecular Biology, genome sequencing, biological sequence analysis, genome rearrangements, gene expression analysis.
ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Advanced Research Methods in
Computer Engineering
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
งานวิจัยขั้นสูงทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และการจัดทำโครงร่าง การวิจัย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์สำหรับประมวลผล และการสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ผล การเรียบเรียงและเขียนบทความ ทางวิชาการและการนำเสนอ การอภิปรายผลงานวิจัย การจัดทำรายงาน เพื่อการนำเสนอในการประชุมและการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
Advanced research in computer engineering and preparation of research proposal, computer application for data processing and retrievals, data analysis, article writing and presentation, group discussion, paper preparation for presentation and publication.
เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Selected Topics in Computer Engineering
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในระดับปริญญาเอก หัวข้อเรื่องเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละภาคการศึกษา
Selected topics in computer engineering at the doctoral degree level. Topics are subject to change each semester.
สัมมนา
Seminar
หน่วยกิต : 1
การนำเสนออภิปรายในหัวข้อที่น่าสนใจทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในระดับปริญญาเอก
Presentation and discussion on interesting topics in computer engineering at the doctoral degree level.
ปัญหาพิเศษ
Special Problems
หน่วยกิต : 1-3
การศึกษาค้นคว้าทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระดับปริญญาเอก และเรียบเรียงเขียนเป็นรายงาน
Study and research in computer engineering at the doctoral degree level and compile into a written report.
วิทยานิพนธ์
Thesis
หน่วยกิต : 3(3-0-6)
วิจัยในระดับปริญญาเอก และเรียบเรียงเขียนเป็นวิทยานิพนธ์
Research in the doctoral degree level and compile into a thesis.